วิกิเยาวชน
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการนี้ กรุณาดูที่ เมทา:วิกิจูเนียร์ โครงการนี้มีจุดประสงค์ในการสร้างชุดหนังสือสำหรับเยาวชนกลุ่มอายุ 8 ถึง 10 ปี
หนังสือสำหรับเยาวชนนี้จะถูกพัฒนาขึ้นที่วิกิตำรา (Wikibooks) และเมื่อการพัฒนาเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว หนังสือดังกล่าวจะถูกตีพิมพ์ต่อไป ในขณะเดียวกัน หนังสือสำหรับเยาวชนที่สมบูรณ์แล้วนั้นจะถูกจัดทำขึ้นเป็นโครงการใหม่เก็บไว้ในวิกิเยาวชน ทั้งนี้ ท่านสามารถทำการแก้ไข ปรับปรุง หนังสือสำหรับเยาวชนที่สมบูรณ์แล้วได้ตลอดเวลาที่วิกิตำรา
ที่มา : http://meta.wikimedia.org/wiki/Wikijunior
วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 3
ซอคเกอร์ซัค - วิกิพีเดีย
ซอคเกอร์ซัคดอตคอม (อังกฤษ: SoccerSuck.com) เป็นเว็บไซต์ข่าวสารฟุตบอลที่ได้รับความนิยมอันดับหนึ่งของประเทศไทย และเป็นเว็บไซต์ทางด้านกีฬาที่มีผู้เข้าชมมากเป็นอันดับสองของประเทศไทย จากการจัดอันดับโดย Truehits.net [1]
เนื้อหาของซอคเกอร์ซัคดอตคอม เน้นไปข่าวสาร สาระเกี่ยวกับวงการฟุตบอลต่างประเทศ โดยอ้างอิงจากเว็บไซต์ข่าวสารฟุตบอลในต่างประเทศโดยตรง เนื้อหามีการอัปเดตอยู่เสมอ ทำให้ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน) [1]
นอกจากนั้น ซอคเกอร์ซัคดอตคอมยังมีเว็บบอร์ดไว้สำหรับสมาชิกได้แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกัน ทั้งเรื่องฟุตบอล และเรื่องอื่นๆ ทำให้มีเรื่องราวที่น่าสนใจมากมายเกิดขึ้นในเว็บไซต์เสมอ ปัจจุบัน มีสมาชิกสมัครใช้บริการจากเว็บรวมแล้วกว่า 70,000 คน และชื่อที่นิยมเรียกกันในกลุ่มผู้ใช้ด้วยกันคือ SS
ที่มา : http://www.soccersuck.com/soccer/
ซอคเกอร์ซัคดอตคอม (อังกฤษ: SoccerSuck.com) เป็นเว็บไซต์ข่าวสารฟุตบอลที่ได้รับความนิยมอันดับหนึ่งของประเทศไทย และเป็นเว็บไซต์ทางด้านกีฬาที่มีผู้เข้าชมมากเป็นอันดับสองของประเทศไทย จากการจัดอันดับโดย Truehits.net [1]
เนื้อหาของซอคเกอร์ซัคดอตคอม เน้นไปข่าวสาร สาระเกี่ยวกับวงการฟุตบอลต่างประเทศ โดยอ้างอิงจากเว็บไซต์ข่าวสารฟุตบอลในต่างประเทศโดยตรง เนื้อหามีการอัปเดตอยู่เสมอ ทำให้ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน) [1]
นอกจากนั้น ซอคเกอร์ซัคดอตคอมยังมีเว็บบอร์ดไว้สำหรับสมาชิกได้แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกัน ทั้งเรื่องฟุตบอล และเรื่องอื่นๆ ทำให้มีเรื่องราวที่น่าสนใจมากมายเกิดขึ้นในเว็บไซต์เสมอ ปัจจุบัน มีสมาชิกสมัครใช้บริการจากเว็บรวมแล้วกว่า 70,000 คน และชื่อที่นิยมเรียกกันในกลุ่มผู้ใช้ด้วยกันคือ SS
ที่มา : http://www.soccersuck.com/soccer/
วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 2
พื้นฐานของมารยาทในวิกิพีเดีย
* เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบท ความที่ดีได้
* "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
* สุภาพ
* พูดกับคนอื่น เหมือนกับที่อยากให้คนอื่นพูดกับเรา
* ควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาษา แชต เพราะผู้อื่นอาจถือเป็นการดูถูก หรือไม่เหมาะสม และอาจทำให้น้ำหนักความคิดเห็นของคุณน้อยลง (ยกเว้นกับผู้ ใช้ที่ยอมรับภาษาแชตในหน้าคุยกับผู้ใช้)
* ในหน้าพูดคุยหรืออภิปราย ตามมารยาทควรลง ชื่อเพื่อแสดงให้เห็นถึงผู้พูด โดยการใส่เครื่องหมาย ~~~~ (ทิลดา สี่ตัว)
* หลีกเลี่ยงการย้อนการแก้ไขของผู้ใช้คนอื่น เมื่อสามารถทำได้
* ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
* เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
* พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
* แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
* อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
* อย่าลืมขอโทษถ้ากระทำผิดพลาด
* ให้อภัยการกระทำที่ผิด และลืมมันเสีย
* อย่าปลุกกระแสให้คนอื่นทะเลาะกัน
* ช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งระหว่างผู้ใช้คนอื่น
* ลองดู วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และ คำที่มักเขียนผิด
* ถ้ามีปัญหา ลองเว้นระยะไปสักพัก หรือลองดูบทความอื่น ในวิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความให้คุณตรวจสอบแก้ไขถึง 52,918 บทความ
* ท้ายสุด อย่าลืมดูว่าวิ กิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย และ วิกิพีเดีย:นโยบายและแนวปฏิบัติ
2. ข้อพึงระวัง
* พยายามอธิบายให้ชัดเจน ว่าต้องการทำอะไร เฉพาะอย่างยิ่งในหน้าพูดคุย
* ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่น ที่มีต่อบทความของตน
* ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
* อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลายๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
* อย่าว่าร้ายผู้อื่น ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
* ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้กล้า แก้ไขบทความ
ที่มา : http://wapedia.mobi/th
* เชื่อมั่นว่าบุคคลอื่นมีเจตนาดี ทุกคนที่ร่วมเข้ามาเขียนในวิกิพีเดีย มีใจที่ต้องการสร้างบทความที่ดี และนโยบายของวิกิพีเดียเปิดโอกาสให้บุคคลเหล่านั้นสามารถเขียนและแก้ไขบท ความที่ดีได้
* "จงปฏิบัติต่อผู้อื่น อย่างที่คุณปรารถนาให้เขาปฏิบัติต่อคุณ"
* สุภาพ
* พูดกับคนอื่น เหมือนกับที่อยากให้คนอื่นพูดกับเรา
* ควรหลีกเลี่ยงการใช้ภาษา แชต เพราะผู้อื่นอาจถือเป็นการดูถูก หรือไม่เหมาะสม และอาจทำให้น้ำหนักความคิดเห็นของคุณน้อยลง (ยกเว้นกับผู้ ใช้ที่ยอมรับภาษาแชตในหน้าคุยกับผู้ใช้)
* ในหน้าพูดคุยหรืออภิปราย ตามมารยาทควรลง ชื่อเพื่อแสดงให้เห็นถึงผู้พูด โดยการใส่เครื่องหมาย ~~~~ (ทิลดา สี่ตัว)
* หลีกเลี่ยงการย้อนการแก้ไขของผู้ใช้คนอื่น เมื่อสามารถทำได้
* ทำงานโดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน
* เวลาโต้เถียง ให้แย้งกันเรื่องข้อเท็จจริงของตัวเนื้อหา อย่าเถียงกันเรื่องความเห็นหรือการแสดงออกส่วนตัวในส่วนเนื้อหา
* พยายามควบคุมอารมณ์ของตนระหว่างการโต้เถียง
* แก้ไขหรือสรุปข้อโต้เถียงที่คุณเป็นผู้ตั้งประเด็นไว้
* อย่าเฉยเมยกับคำถามผู้อื่น ถ้ามีผู้ที่สงสัยและต้องการแก้ไขงานของเรา ควรระบุเหตุผลที่เหมาะสมในการเขียนหรือแก้ไข
* อย่าลืมขอโทษถ้ากระทำผิดพลาด
* ให้อภัยการกระทำที่ผิด และลืมมันเสีย
* อย่าปลุกกระแสให้คนอื่นทะเลาะกัน
* ช่วยไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้งระหว่างผู้ใช้คนอื่น
* ลองดู วิกิพีเดีย:ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และ คำที่มักเขียนผิด
* ถ้ามีปัญหา ลองเว้นระยะไปสักพัก หรือลองดูบทความอื่น ในวิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความให้คุณตรวจสอบแก้ไขถึง 52,918 บทความ
* ท้ายสุด อย่าลืมดูว่าวิ กิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย และ วิกิพีเดีย:นโยบายและแนวปฏิบัติ
2. ข้อพึงระวัง
* พยายามอธิบายให้ชัดเจน ว่าต้องการทำอะไร เฉพาะอย่างยิ่งในหน้าพูดคุย
* ผู้เขียนบทความควรจะพยายามทำความเข้าใจในการแก้ไขและการวิจารณ์ของบุคคลอื่น ที่มีต่อบทความของตน
* ผู้มาใช้ใหม่ อาจผิดพลาดได้ง่าย พูดคุยด้วยคำพูดที่ดี และอธิบายข้อผิดพลาด และที่สำคัญ ต้องไม่ลืม แนะนำวิธีแก้ไขหรือหาทางออกให้
* อย่าสรุปว่า สิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือสิ่งที่ผิด หลายๆ เรื่อง สามารถหาทางออกได้มากกว่ากำหนดว่า ถูก หรือ ผิด
* อย่าว่าร้ายผู้อื่น ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม เพราะจะทำให้ผู้ใช้คนนั้นมีปฏิกิริยาตอบสนอง ถ้าคุณต้องการวิจารณ์ในเรื่องใดก็ตาม คุณควรจะวิจารณ์เขาอย่างสุภาพและติในเชิงก่อ
* ถึงแม้ว่ามารยาท จะมีเรื่องให้คิดมากมาย แต่อย่าลืมว่า วิกิพีเดียแนะนำให้กล้า แก้ไขบทความ
ที่มา : http://wapedia.mobi/th
วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 1
10 เรื่องที่คุณ(อาจ)ไม่รู้เกี่ยวกับ วิกิพีเดีย
ถ้าพูด ถึง วิกิพีเดีย (Wikipedia) ยุค นี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก ย้อนไปเมื่อปี 2549 นิตยสารไทม์ได้มีการประกาศ "บุคคลสำคัญประจำปี" ซึ่งได้แก่ "ตัวคุณเอง" (You) โดยอ้างให้เหตุผลว่า "คุณทุกคน" มีส่วนในการสร้าง content ในลักษณะของการสร้างเว็บ 2.0 ในเว็บไซต์ต่างๆ อาทิ วิกิพีเดีย ยูทูบ และมายสเปซ ซึ่งทำให้เว็บไซต์เหล่านี้ประสบความสำเร็จขึ้นได้ จากการร่วมมือของบุคคลหลายล้านคนทั่วโลก ไม่ว่าวิกิพีเดียอังกฤษที่มีเนื้อหาอัดแน่น หรือวิกิพีเดียไทยที่กำลังจะโต รอหน่อยนาาาา ด้านล่างนี้เป็นเรื่องบางเรื่องที่คุณอาจไม่รู้
(อ่านต่อ...)
ที่มา : http://itshee.exteen.com/20080218/entry-1
ถ้าพูด ถึง วิกิพีเดีย (Wikipedia) ยุค นี้คงไม่มีใครไม่รู้จัก ย้อนไปเมื่อปี 2549 นิตยสารไทม์ได้มีการประกาศ "บุคคลสำคัญประจำปี" ซึ่งได้แก่ "ตัวคุณเอง" (You) โดยอ้างให้เหตุผลว่า "คุณทุกคน" มีส่วนในการสร้าง content ในลักษณะของการสร้างเว็บ 2.0 ในเว็บไซต์ต่างๆ อาทิ วิกิพีเดีย ยูทูบ และมายสเปซ ซึ่งทำให้เว็บไซต์เหล่านี้ประสบความสำเร็จขึ้นได้ จากการร่วมมือของบุคคลหลายล้านคนทั่วโลก ไม่ว่าวิกิพีเดียอังกฤษที่มีเนื้อหาอัดแน่น หรือวิกิพีเดียไทยที่กำลังจะโต รอหน่อยนาาาา ด้านล่างนี้เป็นเรื่องบางเรื่องที่คุณอาจไม่รู้
(อ่านต่อ...)
ที่มา : http://itshee.exteen.com/20080218/entry-1
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)